The 5-Second Trick For เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ

การสมัครเข้าศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต

หนุ่มวีแกน ฟ้อง ‘เบอร์เกอร์ คิง’ โทษฐานย่าง ‘เนื้อเจ’ ปนกับ ‘เนื้อจริง’

โครงการบริหารจัดการขยะอาหารบนเกาะสมุย

ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

--- เบอร์เกอร์ไก่จากการเพาะเลี้ยงในห้องทดลอง ---

It truly is obligatory to obtain consumer consent just before running these cookies on your website. Conserve & ACCEPT

คนไม่กล้ากินไม่เป็นไร สหราชอาณาจักรอนุมัติการนำ 'เนื้อสัตว์จากห้องแล็บ' ไปใส่ในอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยง ซึ่งทางบริษัทวิจัยกำลังวางแผนที่จะผลิตเนื้อส่งขายให้อุตสาหกรรมอาหารสัตว์เร็ว ๆ นี้

This is probably the 4 most important cookies established by the Google Analytics provider which permits เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ Web-site owners to track visitor behaviour and measure internet site performance. This cookie lasts for 2 many years by default and distinguishes among end users and periods.

รวมเหตุการณ์ ตัวแปรสำคัญการเมืองไทยเดือนสิงหาคม

สำหรับบางคนคำถามนี้อาจฟังดูไม่สำคัญ ตราบใดที่ยังมีเนื้อฮาลาลที่มาจากการเชือดให้กิน แต่คำถามนี้ก็ได้สร้างข้อถกเถียงมากมายในโลกมุสลิมแม้กระทั่งในหมู่นักวิชาการอิสลามเอง และสำหรับบริษัทผลิตเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง คำตอบของคำถามนั้นอาจหมายถึงความอยู่รอดทางธุรกิจ เพราะนั่นอาจทำให้พวกเขาไม่สามารถเข้าถึงผู้บริโภคมุสลิมซึ่งเป็นกลุ่มผู้บริโภคขนาดใหญ่ของตลาดเนื้อสัตว์ได้

การวิจัยมุ่งเน้นไปที่การทดลองพัฒนารสชาติเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง มากกว่าการทดลองสินค้าในเชิงพาณิชย์ ดังนั้นในการศึกษานี้จึงไม่ได้สารระดับฟู้ดเกรด แต่นักวิจัยเชื่อว่าปรับไปใช้สารที่สามารถกินได้ และปลอดภัยในการบริโภค

ยกตัวอย่างเช่น ข้อดีเกี่ยวกับการนำเข้าอาหารที่แคแพลนชี้ให้เห็น เขากล่าวว่า ถ้าผู้คนในอเมริกาบริโภคเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง ประเทศอาจจะไม่จำเป็นต้องนำเข้าอาหารในปริมาณมากเท่ากับที่นำเข้ามาในปัจจุบัน เนื่องจากเนื้อสัตว์ประเภทใหม่สามารถผลิตขึ้นที่ใดก็ได้ เขายังเสริมอีกว่า “เทคโนโลยีจะช่วยให้เราสามารถควบคุมปริมาณสารอาหารในเนื้อสัตว์และปริมาณการผลิตได้ดีขึ้น เช่น คุณจะสามารถเลือกเซลล์ไขมันที่มีองค์ประกอบของกรดไขมันที่ดีต่อสุขภาพได้ และคุณก็จะสามารถลดการใช้ยาปฏิชีวนะและสารเคมีอื่น ๆ ในอาหารลงได้”

การผลิตเนื้อวากิวสังเคราะห์จากเครื่องพิมพ์สามมิติของมหาวิทยาลัยโอซาก้านี้ ใช้โครงสร้างทางจุลกายวิภาคของเนื้อวากิวมาจำลองเป็นพิมพ์เขียว และใช้เทคนิคการพิมพ์สามมิติที่สามารถผลิตโครงสร้างที่ซับซ้อนและออกแบบเฉพาะได้มาเป็นหัวใจหลักของการพัฒนา โดยเริ่มต้นจากการเพาะเลี้ยงเซลล์เนื้อวัววากิวต้นแบบในห้องแล็บและกระตุ้นให้กลายเป็นเซลล์ประเภทต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการสร้างเส้นใยแต่ละชนิดได้แก่ เซลล์กล้ามเนื้อ ไขมัน และหลอดเลือด ซึ่งเป็นสามส่วนประกอบสำคัญที่เป็นเอกลักษณ์ของเนื้อวากิว

หลังจากที่ทีมวิจัยในเกาหลีใต้ได้ค้นพบวิธีการปรับปรุงรสชาติของเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง งานต่อไปของพวกเขาคือการพัฒนารูปลักษณ์และเนื้อสัมผัสให้สมจริงมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในตอนนี้การเพาะเลี้ยงเนื้อสัตว์ยังคงอยู่ในขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเซลล์มากกว่าระดับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จึงมีข้อจำกัด ในการเลียนแบบคุณสมบัติของเนื้อสัตว์ เช่น กล้ามเนื้อ ไขมัน และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *